เรื่องฤกษ์ยามสำหรับคนไทยนั้น ถือเป็นความเชื่อที่มีมานาน ไม่ว่าจะฤกษ์ออกรถ ฤกษ์ขึ้นบ้านใหม่ ฤกษ์เปิดร้านหรือจะจัดงานแต่งงาน งานมงคลต่าง ๆ แต่ละครั้งต้องดูฤกษ์ยามก่อนเสมอ สำหรับในปี 2566 นี้ ใครที่กำลังมีแผนจะออกรถคันใหม่ ขึ้นบ้านใหม่ หรือต้องการจัดงานมงคลต่าง ๆ มาเช็คฤกษ์ดีกันได้ที่บทความนี้
เรื่องของความเชื่อ ตัวเลขมงคล หรือฤกษ์มงคลไม่ได้มีแค่ในประเทศไทยเท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น ความเชื่อคนเกาหลีเองก็เชื่อในเรื่องของตัวเลขเช่นกัน เช่น คนเกาหลีไม่ชอบ เลข 4 และเลข 9 พวกเขาเชื่อว่าเลข 4 คือเลขแห่งความตาย เลข 9 เชื่อกันว่าถ้าอายุลงท้ายด้วยเลข 9 ต้องระวังเป็นพิเศษ ไม่ควรเริ่มกิจการอะไรใหม่ ๆ ส่วนมงคลของคนเกาหลีคือ เลข 7 หมายถึง โชคดี
กลับมาที่ความเชื่อคนไทย บ้านเราที่มีความเชื่อสืบทอดต่อกันมานาน ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อเรื่องความฝัน เชื่อเรื่องลางบอกเหตุ เชื่อเรื่องฤกษ์งามยามดี เชื่อเรื่องวันมงคลและวันอัปมงคล แม้กระทั่งเชื่อในเรื่องศาสตร์ของตัวเลข เบอร์มือถือ เลขบัตรประชาชนอีกด้วย
การหาฤกษ์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท
1. การหาฤกษ์ทางโลก
ฤกษ์ในทางโลกจะดูจากวันที่มีส่วนดีมากที่สุด และมีส่วนที่ไม่ดีน้อยที่สุด โดยวิธีการดูว่าวันไหนเป็นวันที่มีส่วนประกอบดีจะดูได้จาก เดช ศรี มูละ อุตสาหะ มนตรี ราชาฤกษ์ เทวีฤกษ์ มหัทธโนฤกษ์ เป็นต้น ส่วนประกอบที่ไม่ดีสามารถดูได้จาก วันอุบาทว์ วันโลกาวินาศ กาลกรรณี อริ มรณะและวันวินาศ ซึ่งต้องเอาทั้ง 2 ส่วนนี้มาเปรียบเทียบกันว่าส่วนดีมีมากกว่าส่วนไม่ดีหรือไม่ ถ้าส่วนดีมีมากกว่าและส่วนเสียนิดเดียว ก็จะถือเอาวันนั้นเป็นฤกษ์ที่เหมาะกับการประกอบพิธีมงคลต่างๆ
2. การหาฤกษ์ในทางธรรม
ฤกษ์ประเภทนี้จะอิงจากคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นหลัก โดยยึดการทำความดีเป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นการทำความดีทั้งทางกาย วาจา และใจ เมื่อนั้นชีวิตก็จะเกิดความเจริญรุ่งเรือง
ฤกษ์ออกรถปี 2566 ตามวันเกิด
แต่ละคนจะมีวันที่ดีและวันที่ไม่ดีไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับวันที่เกิดและเดือนที่เกิด จริงๆ ถ้าจะดูให้แม่นลงไปต้องลงเวลาเกิดด้วยถึงจะใกล้เคียงมากที่สุด แต่หากไม่ได้ซีเรียสขนาดนั้น ก็สามารถอิงจากข้อมูลด้านล่างนี้ได้เลย
1. คนที่เกิดวันอาทิตย์
วันดี : จันทร์ พฤหัสบดี เสาร์และอาทิตย์
วันไม่ดี : ศุกร์
2. คนที่เกิดวันจันทร์
วันดี : จันทร์ ศุกร์ เสาร์
วันไม่ดี : อาทิตย์
3. คนที่เกิดวันอังคาร
วันดี : อังคาร ศุกร์ พฤหัสบดี และเสาร์
วันไม่ดี : จันทร์
4. คนที่เกิดวันพุธ (กลางวัน)
วันดี : จันทร์และศุกร์
วันไม่ดี : อังคาร
5. คนที่เกิดวันพุธ (กลางคืน)
วันดี : จันทร์และศุกร์
วันไม่ดี : พฤหัสบดี
6. คนที่เกิดวันพฤหัสบดี
วันดี : จันทร์และศุกร์
วันไม่ดี : เสาร์
7. คนที่เกิดวันศุกร์
วันดี : จันทร์ อังคาร ศุกร์ และอาทิตย์
วันไม่ดี : พุธ (กลางคืน)
8. คนที่เกิดวันเสาร์
วันดี : จันทร์
วันไม่ดี : พุธ (กลางวัน)
สำหรับคนที่สับสนว่า พุธ (กลางวัน) กับ พุธ (กลางคืน) มันนับยังไง ช่วงไหนกลางวันหรือกลางคืน เรามีคำตอบให้เช่นกัน
วันพุธ (กลางวัน) – ตั้งแต่ 06.01-18.00 น.
วันพุธ (กลางคืน) – ตั้งแต่ 18.01-06.00 น.
เมื่อเราได้รู้ข้อมูลของวันดีและวันไม่ดีของคนเกิดในแต่ละวันไปแล้ว ลำดับต่อไปหากต้องการจะออกรถคันใหม่ในเดือนต่าง ๆ ลองเอาวันที่มีฤกษ์ดีในแต่ละเดือน ไปแมทช์กับวันเกิดตัวเองก็จะได้ฤกษ์ออกรถที่ดี เป็นต้น
ฤกษ์ออกรถมงคลในปี 2566
เดือนมกราคม 2566
วันที่ : 2 4 6 16 20 24 26 และ 31
เดือนกุมภาพันธ์ 2566
วันที่ : 3 9 14 18 26 และ 28
เดือนมีนาคม 2566
วันที่ : 5 12 17 19 25 และ 28
เดือนเมษายน 2566
วันที่ : 3 4 8 11 17 18 19 และ 22
เดือนพฤษภาคม 2566
วันที่ : 1 6 7 15 22 และ 31
เดือนมิถุนายน 2566
วันที่ : 3 7 12 14 23 25 และ 29
เดือนกรกฎาคม 2566
วันที่ : 2 4 7 10 15 21 25 และ 30
เดือนสิงหาคม 2566
วันที่ : 1 5 9 12 14 19 22 28 และ 31
เดือนกันยายน 2566
วันที่ : 4 8 12 14 22 24 และ 29
เดือนตุลาคม 2566
วันที่ : 4 7 13 15 18 22 และ 29
เดือนพฤศจิกายน 2566
วันที่ : 3 6 11 12 16 20 26 และ 27
เดือนธันวาคม 2566
วันที่ : 3 5 8 10 11 20 24 27 และ 31
(อ้างอิง www.thairath.co.th)
ฤกษ์ขึ้นบ้านใหม่ปี 2566
นอกจากฤกษ์ออกรถคันใหม่แล้ว เรายังรวบรวมฤกษ์ขึ้นบ้านใหม่สำหรับปี 2566 อยากรู้ว่ามีวันไหนและเดือนไหนฤกษ์ดีบ้าง ก่อนที่จะไปดูว่าวันฤกษ์ดี เราไปดูความหมายของฤกษ์ต่าง ๆ กันก่อน
- มหัทธโนฤกษ์ แปลว่า มั่งมี รุ่งเรือง เศรษฐี
- เทวีฤกษ์ แปลว่า นางพญา ความงาม ความหรูหรา มีเสน่ห์ โชคลาภ สมปรารถนา
- ราชาฤกษ์ แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน ผู้ยิ่งใหญ่ มีวาสนา มีอำนาจ
- ภูมิปาโลฤกษ์ แปลว่า ผู้รักษาแผ่นดิน มีพระพุทธเป็นผู้รักษาฤกษ์
(อ้างอิง www.sanook.com)
เดือนมกราคม 2566
วันพุธที่ 4 มกราคม 2566
- 06.22-07.16 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.57-09.51 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 10.20-11.14 น. เป็นราชาฤกษ์
- 13.09-14.02 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 15.03-15.53 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันศุกร์ที่ 6 มกราคม 2566
- 06.15-07.09 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.59-08.44 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.34-10.24 เป็นเทวีฤกษ์
- 11.14-12.04 น. เป็นราชาฤกษ์
- 13.02-13.56 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.50-09.44 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันเสาร์ที่ 21 มกราคม 2566
- 05.26-06.21 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.33-08.28 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.18-10.08 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 10.58-11.48 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 29 มกราคม 2566
- 04.55-05.54 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 06.47-07.35 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 08.25-09.15 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 10.05-10.55 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.45-12.40 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.30-14.20 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.15-16.05 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 16.55-17.45 น. เป็นราชาฤกษ์
เดือนกุมภาพันธ์ 2566
วันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566
- 05.05-05.54 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 06.49-07.44 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 08.56-09.5 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 10.41-11.31 น. เป็นราชาฤกษ์
- 12.26-13.21 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 14.11-15.07 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.57-16.47 น. เป็นเทวีฤกษ์
วันศุกร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566
- 06.23-07.18 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 08.08-08.58 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 09.48-10.38 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.41-12.36 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.26-14.16 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.06-15.56 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 16.46-17.36 น. เป็นราชาฤกษ์
วันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2566
- 06.44-07.35 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 08.45-09.44 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 10.34-11.24 น. เป็นราชาฤกษ์
- 12.14-13.04 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.54-14.44 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.34-16.24 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 17.14-18.04 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566
- 06.34-07.25 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 08.15-09.05 น. เป็นเทวีฤกษ์
วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566
- 06.24-07.15 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 08.05-08.56 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 09.46-10.36 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.31-12.26 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.21-14.16 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.29-16.20 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 17.09-17.59 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566
- 05.52-06.47 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 07.37-08.28 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 09.16-10.08 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.09-12.04 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.01-13.51 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.08-16.03 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 17.43-18.33 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพุธที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566
- 08.18-09.11 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.07-12.02 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.58-14.53 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566
- 08.10-09.04 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.59-11.54 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.44-14.39 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.29-16.19 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 17.09-17.59 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566
- 08.03-08.53 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.52-11.47 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.42-13.33 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.50-15.46 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 16.36-17.26 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอังคารที่ 28 กุมภาพันธ์ 2566
- 07.30-08.23 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.19+11.14 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.09-13.01 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.17-15.12 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 16.02-16.53 น. เป็นราชาฤกษ์
เดือนมีนาคม 2566
วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม 2566
- 07.15-08.04 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.04-10.59 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.54-12.49 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.02-14.53 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 15.43-16.32 น. เป็นราชาฤกษ์
วันเสาร์ที่ 11 มีนาคม 2566
- 05.18-06.13 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 07.08-07.59 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.36-10.32 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.26-12.19 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันจันทร์ที่ 13 มีนาคม 2566
- 06.41-07.3 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.29-10.24 น. เป็รมหัทธโนฤกษ์
- 11.19-12.11 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 13.27-14.18 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 15.08-15.59 น. เป็นราชาฤกษ์
- 16.49-17.44 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันศุกร์ที่ 17 มีนาคม 2566
- 06.23-07.18 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.12-10.07 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.02-11.52 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.47-13.37 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.27-15.18 น. เป็นราชาฤกษ์
- 16.08-17.03 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันจันทร์ที่ 20 มีนาคม 2566
- 06.09-07.04 น. เป็นราชาฤกษ์
- 08.58-09.53 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.48-11.41 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.56-13.50 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.40-15.30 น. เป็นราชาฤกษ์
- 16.15-17.11 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันพุธที่ 22 มีนาคม 2566
- 06.01-06.57 น. เป็นราชาฤกษ์
- 08.49-06.57 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.39-11.34 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.47-13.42 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.32-15.22 น. เป็นราชาฤกษ์
- 16.12-17.08 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม 2566
- 05.59-06.50 น. เป็นราชาฤกษ์
- 08.35-09.31 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.25-11.14 น. เป็นภูิมปาโลฤกษ์
- 12.32-13.23 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.13-15.03 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.53-16.48 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันศุกร์ที่ 31 มีนาคม 2566
- 07.08-08.03 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.53-09.48 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 10.38-11.28 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.18-13.08 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.58-15.53 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
เดือนเมษายน 2566
วันเสาร์ที่ 8 เมษายน 2566
- 07.29-08.26 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 09.21-10.09 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.22-12.12 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 16 เมษายน 2566
- 06.53-07.48 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.43-09.33 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 10.52-11.42 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.18-13.08 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.53-15.48 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันจันทร์ที่ 17 เมษายน 2566
- 06.49-07.44 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.34-09.32 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 10.48-11.43 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.33-13.23 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.13-15.08 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
เดือนพฤษภาคม 2566
วันพุธที่ 3 พฤษภาคม 2566
- 05.38-06.33 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.20-08.23 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.36-10.31 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.21-12.11 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.05-15.00 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 15.54-16.44 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม 2566
- 08.36-09.27 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.20-12.15 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.05-13.54 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.44-15.34 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 16.24-17.14 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอังคารที่ 30 พฤษภาคม 2566
- 07.57-08.47 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.27-11.22 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.12-13.02 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 13.57-14.47 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 15.37-16.27 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพุธที่ 31 พฤษภาคม 2566
- 07.54-08.44 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.24-11.19 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.09-13.59 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.49-15.39 น. เป็นเทวีฤกษ์
เดือนมิถุนายน 2566
วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน 2566
- 07.51-08.40 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.30-11.25 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.15-13.05 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 13.55-14.45 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 15.35-16.25 น. เป็นราชาฤกษ์
วันเสาร์ที่ 3 มิถุนายน 2566
- 07.45-08.35 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.40-11.35 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.25-13.15 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.05-14.59 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 15.49-16.39 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพุธที่ 14 มิถุนายน 2566
- 14.29-15.19 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 16.09-16.59 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 15 มิถุนายน 2566
- 07.09-07.59 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.54-10.44 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.34-13.24 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.14-15.04 น. เป็นเทวีฤกษ์
วันเสาร์ที่ 17 มิถุนายน 2566
- 07.01-07.52 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.49-10.44 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.34-12.24 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันจันทร์ที่ 26 มิถุนายน 2566
- 09.31-10.26 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.16-12.02 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.53-13.43 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.35-15.23 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพุธที่ 28 มิถุนายน 2566
- 09.27-10.22 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.12-11.02 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.53-12.43 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.10-11.02 น. เป็นราชาฤกษ์
เดือนกรกฎาคม 2566
วันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม 2566
- 09.20-10.14 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.04-11.54 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม 2566
- 06.21-07.11 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.14-10.14 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.04-11.54 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันพุธที่ 12 กรกฎาคม 2566
- 09.11-10.06 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.53-11.46 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.36-13.26 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.16-15.06 น. เป็นราชาฤกษ์
วันเสาร์ที่ 15 กรกฎาคม 2566
- 08.53-09.48 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.38-11.28 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.18-13.08 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.58-14.48 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 16 กรกฎาคม 2566
- 08.51-09.46 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.36-11.25 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.15-13.07 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.58-14.49 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพุธที่ 19 กรกฎาคม 2566
- 09.06-09.59 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.49-11.39 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.29-13.19 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.09-14.59 น. เป็นราชาฤกษ์
วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม 2566
- 09.02-09.57 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.47-11.37 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันจันทร์ที่ 31 กรกฎาคม 2566
- 08.39-09.34 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.24-11.14 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.04-12.54 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.44-14.34 น. เป็นราชาฤกษ์
เดือนสิงหาคม 2566
วันพุธที่ 2 สิงหาคม 2566
- 08.29-09.24 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.14-11.04 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.59-12.49 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.39-14.21 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม 2566
- 08.13-09.03 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 09.58-10.48 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.38-12.28 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.18-14.08 น. เป็นราชาฤกษ์
วันเสาร์ที่ 5 สิงหาคม 2566
- 08.19-09.14 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.04-10.54 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.44-12.34 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.24-14.14 น. เป็นราชาฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 10 สิงหาคม 2566
- 07.08-07.53 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.53-09.43 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 10.33-11.23 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.13-13.03 น. เป็นราชาฤกษ์
วันจันทร์ที่ 14 สิงหาคม 2566
- 09.35-10.24 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.14-12.04 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.14-14.34 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.24-16.19 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 27 สิงหาคม 2566
- 06.15-07.10 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.00-08.50 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.40-10.30 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.20-12.10 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.40-15.30 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันจันทร์ที่ 28 สิงหาคม 2566
- 06.10-07.05 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.55-08.45 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.35-10.25 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.15-12.05 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.45-16.39 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันอังคารที่ 29 สิงหาคม 2566
- 06.05-07.00 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.55-08.46 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.36-10.25 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.15-12.05 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.46-16.40 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม 2566
- 05.56-06.51 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.41-08.31 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.21-10.11 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.01-11.56 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.38-16.28 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
เดือนกันยายน 2566
วันเสาร์ที่ 2 กันยายน 2566
- 10.04-10.54 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.44-12.34 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.37-13.27 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.07-15.57 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน 2566
- 06.29-07.24 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.14-09.14 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 10.09-11.04 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.59-12.54 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.51-16.46 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันอังคารที่ 12 กันยายน 2566
- 06.06-07.01 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.56-08.51 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.46-10.41 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.36-12.31 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.28-16.23 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 14 กันยายน 2566
- 05.56-06.51 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.46-08.41 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.36-10.31 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.26-12.21 น. เป็นราชาฤกษ์
- 15.18-16.13 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันอังคารที่ 19 กันยายน 2566
- 05.32-06.27 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 07.22-08.17 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.12-10.07 น. เป็นเทวีฤกษ์
วันพุธที่ 27 กันยายน 2566
- 06.01-06.56 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 07.51-08.46 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 09.41-10.36 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.11-15.06 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 16.01-16.56 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
เดือนตุลาคม 2566
วันพุธที่ 11 ตุลาคม 2566
- 07.08-08.03 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 08.58-09.53 น เป็นราชาฤกษ์
- 12.55-13.50 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 14.49-15.40 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันเสาร์ที่ 14 ตุลาคม 2566
- 06.51-07.46 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 09.41-10.36 น. เป็นราชาฤกษ์
- 12.39-13.3 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 14.29-15.24 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันอาทิตย์ที่ 22 ตุลาคม 2566
- 06.08-07.03 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 07.58-08-53 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.56-12.51 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.46-14.41 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 15.36-16.3 น. เป็นเทวีฤกษ์
วันอังคารที่ 31 ตุลาคม 2566
- 07.59-08.54 น. เป็นราชาฤกษ์
- 11.08-12.03 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.02-13.57 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.52-15.47 น. เป็นเทวีฤกษ์
เดือนพฤศจิกายน 2566
วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน 2566
- 07.42-08.37 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.57-11.52 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.47-13.42 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.37-15.32 น. เป็นเทวีฤกษ์
วันพุธที่ 8 พฤศจิกายน 2566
- 07.16-08.11 น. เป็นราชาฤกษ์
- 10.57-11.52 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 12.16-13.11 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 14.06-15.01 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 15.56-16.51 น. เป็นราชาฤกษ์
วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน 2566
- 06.19-07.14 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.21-10.16 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.11-12.06 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 13.01-13.56 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.51-15.46 น. เป็นราชาฤกษ์
- 16.08-17.08 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน 2566
- 06.03-06.58 น. เป็นราชาฤกษ์
- 09.16-10.08 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 11.03-11.58 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.53-13.48 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 14.43-15.38 น. เป็นราชาฤกษ์
วันจันทร์ที่ 27 พฤศจิกายน 2566
- 15.42-16.37 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 17.31-18.27 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันพฤหัสบดีที่ 30 พฤศจิกายน 2566
- 05.32-06.27 น. เป็นราชาฤกษ์
- 08.42-09.37 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 10.32-11.27 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 12.22-13.17 น. เป็นเทวีฤกษ์
เดือนธันวาคม 2566
วันจันทร์ที่ 11 ธันวาคม 2566
- 09.24-10.19 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 11.14-12.09 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 13.04-15.59 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.42-15.37 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 16.32-17.27 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันเสาร์ที่ 16 ธันวาคม 2566
- 08.59-09.50 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 10.49-11.44 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.39-13.34 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.19-15.14 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 16.09-17.04 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
วันจันทร์ที่ 25 ธันวาคม 2566
- 07.00-07.55 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.50-09.45 น. เป็นภุมิปาโลฤกษ์
- 10.40-11.35 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 12.30-13.25 น. เป็นราชาฤกษ์
- 14.20-15.15 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
วันพุธที่ 27 ธันวาคม 2566
- 06.53-07.48 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 08.43-09.38 น. เป็นภูมิปาโลฤกษ์
- 09.33-10.28 น. เป็นเทวีฤกษ์
- 11.23-12.18 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
- 13.13-14.08 น. เป็นมหัทธโนฤกษ์
(อ้างอิง www.ofm.co.th)
และทั้งหมดนี้ก็เป็นฤกษ์งามยามดีตลอดปี 2566 แต่นอกจากการดูฤกษ์งามยามดีเพื่อเสริมสิริมงคลแล้ว การคิดดี ทำดี พูดดี โดยไม่ทำให้ใครเดือดร้อนและไม่เบียดเบียนใคร ก็จะทำให้ทุกอย่างส่งเสริมกัน และทำให้เรามีชีวิตที่ดียิ่งขึ้น แต่สำหรับเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน อย่างอุบัติเหตุ หรือโรคร้ายแรง ที่แม้ไม่คาดคิด ก็ยังมีโอกาสเกิดขึ้น เราสามารถเตรียมตัววางแผนสำหรับสิ่งนี้ได้ ด้วยการทำประกันภัย ไม่ว่าจะเป็นประกันรถยนต์ ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ประกันมะเร็ง ประกันโรคร้ายแรง ที่รู้ใจ จะช่วยคุณเพื่อไม่ให้เสี่ยงกับการที่ต้องใช้เงินจนหมดไปกับค่ารักษาพยาบาล หรือค่าเสียหายของทรัพย์สิน ใช้ชีวิตต่อได้ไม่มีสะดุด
สามารถติดตามข่าวสาร สาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ รถยนต์ มอเตอร์ไซค์ รวมถึงประกันภัยออนไลน์ต่าง ๆ จากรู้ใจได้ที่ Facebook Page: Roojai หรือคลิกที่นี่เพื่อเพิ่มเราเป็นเพื่อนใน LINE ได้เลย (Official Line ID: @roojai)